ในสถานการณ์การแพร่กระจายของเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคการศึกษาทั่วประเทศ ออกมาตรการให้บุคลากร-เจ้าหน้าที่ภายในองค์กรปฏิบัติงานที่บ้าน หรือ Work From Home ครูผู้สอนและนักเรียนนักศึกษา ทำการเรียนการสอนแบบออนไลน์ หรือกระทั่งในบางรายที่ต้องกักตัวในสถานที่ต่าง ๆ เป็นเวลานาน เพื่อควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ จึงทำให้ทุกครัวเรือนหรืออาคารในหลายพื้นที่ จำเป็นต้องใช้ไฟฟ้าสูงจนเกิดภาวะกระแสไฟฟ้าเกินหรือไฟช็อตได้ในอนาคตดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันเหตุอันตรายจากภาวะดังกล่าว ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมไฟฟ้า สภาวิศวกร จึงชวนคนไทยเช็ค 4 อาการอุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้าน เสี่ยงไฟดูด-ไฟช็อต-ไฟเกิน คือ
- สายไฟถลอกหรือชำรุด กรณีที่มีการเดินระบบสายไฟบริ
เวณผนังหรือฝ้าเพดานบ้าน อาจจะส่งผลให้ฉนวนสายไฟเกิ ดการถลอกได้ ดังนั้น จึงควรแจ้งให้ผู้รับเหมาหรือวิ ศวกรผู้เชี่ยวชาญ ทำการทดสอบค่าความเป็นฉนวนทุ กครั้ง เพื่อป้องกันฉนวนสายไฟชำรุดหรื อสึกหรอ - เครื่องใช้ไฟฟ้าเสียหรือชำรุด เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดมีอายุ
การใช้งานที่เหมาะสม แต่ในกรณีที่ใช้งานนานต่อเนื่อง เช่น การเปิดพัดลมไว้นานหลายชั่วโมง อาจจะส่งผลให้มอเตอร์พัดลมมี ความร้อนสูงและนำไปสู่การไหม้ ได้ ดังนั้น หากพัดลมมีอาการดังกล่าว ควรปิดวงจรและดึงปลั๊กออกจากเต้ าเสียบทันที - จุดต่อหลวม เสีย หรือชำรุด ถือเป็นปัญหาใหญ่ระดับหนึ่ง ในกรณีที่ช่างไฟฟ้าติดตั้งไม่
ได้คุณภาพ อาจจะทำให้จุดต่อของปลั๊กไฟ หรืออุปกรณ์ไฟฟ้าหลวมได้ และอาจจะเกิดอันตรายในที่สุด - สัตว์หรือสิ่งของบางประเภท (เช่น โลหะ) เป็นส่วนนำกระแสไฟฟ้า ในช่วงอากาศชื้น หรือหลังฝนตก สัตว์จำพวกมดและปลวก มักทำรังบริเวณที่มีความอบอุ่น ดังนั้น หากสังเกตพบสัตว์ดังกล่าว เดินทางเป็นแนวยาวไปยังบริ
เวณเต้ารับหรือสวิตช์ (กระดิ่งกดหน้าบ้าน) ต้องรีบกำจัดเพื่อป้องกันการช็ อต-รั่วของระบบไฟฟ้าภายใน
และสำหรับบ้านที่อยู่อาศัยควรติดตั้ง เครื่องตัดไฟรั่ว หรือ RCD: Residual Current Device เครื่องตัดไฟฟ้าอัตโนมัติ กรณีกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเข้ามี
นอกจากนี้ทุกครัวเรือนควรหมั่นตรวจสอบและบำรุงรักษาอุ